วันอังคารที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

ฝึกทักษะการฟังจากบทเพลงที่มีชื่อว่า Somewhere only we know ,Bad boy

Learning Log 8
(22/09/58)
สิ่งที่ได้เรียนรู้นอกห้องเรียน
               
                ในยุคที่ภาษาอังกฤษนั้นกำลังเฟื่องฟู มีการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในระบบที่หลากหลายแล้วนั้น ยังมีสื่ออื่น ๆ อีกมากมายที่มีภาษาอังกฤษร่วมอยู่ด้วยและยังมีโปรแกรมอินเตอร์ ที่ใช้ภาษาล้วนในการเรียนการสอน ทั้งนี้นอกจากการเรียนการสอนในห้องเรียนเราต้องศึกษาค้นคว้าภาษาอังกฤษเพิ่มเติม เพ่อให้เราเองยิ่งเก่งภาษาอังกฤษมากขึ้น นอกจากนี้ยังมีการศึกษานอกระบบที่เกี่ยวข้องกับภาษาอังกฤษผ่านทางวิทยุโทรทัศน์ และอินเตอร์เน็ต ซึ่งจะเป็นการเปิดโอกาสทางด้านการศึกษาให้กับทุกคนหรือบุคคลทั่วไปได้เรียนภาษาอังกฤษ ด้วยทั้งนี้เพื่อการเขียนภาษาอังกฤษที่ดีควรมีกลยุทธ์ในการเรียนภาษาทั้ง 10 องค์ประกอบเพื่อก่อให้เกิดการเรียนรู้ภาษาอย่างแท้จริง  เพราะการฝึกทักษะทางภาษาก็คือการฝึกพฤติกรรมการใช้ภาษาซ้ำแล้ว ซ้ำอีก หากข้อมูลความรู้ทางภาษาของผู้เรียนจนสามารถสื่อสารได้ถูกต้องคล่องแคล่วนั่นเอง ดังนั้น ดิฉันจึงจะต้องมีการงฝึกทักษะทางภาษาอังกฤษทั้งฟังพูดอ่านเขียนเพื่อจะได้นำความรู้ความสามารถมาใช้ในการเรียนและการสื่อสารภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันของเราได้อย่างมีคุณภาพ


                ภาษาเป็นวิชาทักษะไม่ใช่วิชาเนื้อหา ดังคำกล่าวนี้ทำให้ดิฉันจำเป็นและมีความต้องการที่จะฝึกทักษะเพื่อมากยิ่งขึ้น ดิฉันเริ่มต้นจากการฝึกทักษะการฟัง และการพูดรวมถึง การแปลความหมายและจะรวมถึงการใช้ Grammar (ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ) ในเพลงนี้เพลงที่มีชื่อว่า Somewhere only we know ของนักร้องที่ชื่อว่า KEANE โดยเพลงนี้จะมีความหมายโดยรวมเกี่ยวกับเรื่อง การแอบรักคนคนนึ่งและจะมีการตัดพ้อในทำนองที่ว่าเริ่มจะเหนื่อยกับความพยายามแล้วส่วนคำศัพท์โดยภาพรวมของเพลงนี้เป็นคำศัพท์ที่เรารู้บ้างแล้วทำให้เราสามารถเข้าใจความหมายของเนื้อเพลงได้โดยไม่เปิดดูความหมายของคำศัพท์จากพจนานุกรมภาษาอังกฤษ ส่วนในเรื่องของไวยากรณ์ (Grammar) ของเพลง ส่วนมากนั้นจะเป็นในเรื่อง Tense เกี่ยวกับ past tense ซึ่งจะเป็นเกี่ยวกับอดีตส่วนใหญ่
                ต่อไปนี้จะเป็นการหาความหมายของคำศัพท์ที่ดิฉันไม่รู้ความหมายเพื่อนำมาแปลความหมายในประโยค across (adv.) ข้าม  empty (v.) ทำให้ว่างเปล่า beneath (adv.) อยู่ข้างล่าง complete (v.) ทำทั้งหมด branches (n.) สาขา rely tried (adj.) อาศัย dreaming (n.) เหน็ดเหนื่อย simple (n.) ความฝัน somewhere (anv.) บางแห่ง  ซึ่งความหมายของคำศัพท์เหล่านี้จะต้องรู้จักหน้าที่ชนิดของคำด้วยเพ่อจะได้แปลได้ถูกต้องและมีความไพเราะเมื่อผู้อ่านอ่านแล้วเกิดความประทับใจ
                ต่อมาจะเป็นการใช้หลักการใช้ (Grammar) ไวยากรณ์ในประโยคแต่ละประโยคว่ามีการใช้ Tense และแปลความหมายว่าอย่างไรบ้างดังนี้ I walked across an empty land สามารถให้ความหมายว่า ฉันเดินข้ามไปยังพื้นที่ว่าเปล่าใช้ past simple tense และ I knew the pathway like  the back of my hand สามารถให้ความหมายได้ว่า ฉันรู้จักเปรียบเสมือนด้านหลังข้อมือ ใช้ past simple tense และ I felt the earth beneath my feel ซึ่งสามารถให้ความหมายได้ว่า ฉันรู้สึกพื้นโลกด้านล่างของเท้าใช้ past simple tense เช่นกัน
                ต่อมาจะกล่าวถึงไวยากรณ์ที่ใช้ในประโยคเป็น present continouse tense และพร้อมทั้งแปลความหมายได้ความว่าอย่างไร ยกตัวอย่างประโยคจากบทเพลง ได้ประโยคดังต่อไปนี้ I am getting old and I need something to rely on  ซึ่งสามารถแปลประโยคนี้ได้ความหมายว่า ฉันกำลังได้รับความแก่และฉันต้องการบางสิ่งเพื่ออาศัยอยู่ และสิ่งที่เรียนรู้ต่อคือประโยคต่อมาคือ I’m getting tired and I need somewhere to begin ซึ่งสามารถแปลประโยคนี้ได้ความหมายว่า ฉันได้รับความเหนื่อยและต้องการเริ่มต้นกับบางสิ่งบางอย่างซึ่งจะเห็นได้ว่าในบทเพลง Somewhere only we know นั้นจะมีการใช้ Grammar ในการแต่งเพลงที่หลากหลายทำให้เป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้ทักษะต่าง ๆ อีกด้วย  รวมทั้งเราได้รับความเพลิดเพลินจากการฟังเพลงอีกด้วย
 “Somewhere Only We Know” by KEANE
I walked across an empty land
Oh simple thing where have you gone?
I knew the pathway like the back of my hand
I’m getting old and I need something to rely on
I felt the earth beneath my feet
I’m getting old and I need something to rely on
Sat by the river and it made me complete
So tell me when you’re gonna let me in

I’m getting tired and I need somewhere to begin
I came across a fallen tree
Oh simple thing where have you gone?
I felt the branches of it looking at me
I’m getting old and I need something to rely on
Is this the place we used to love?
So tell me when you’re gonna let me in
Is this the place that I’ve been dreaming of?
And if you have a minute why don’t we go

I’m getting tired and I need somewhere to begin
Talk about it somewhere only we know?
Oh simple thing where have you gone?
This could be the end of everything
I’m getting ole and I need something to rely on
So why don’t we go So tell me
When you’re gonna let me in
Somewhere only we know?
I’m getting tired and I need somewhere to begin
Somewhere only we know?

And if you have a minute why don’t we go
Ah-ah-ah
Talk about it somewhere only we know?
Ah-ah-ah
This could be the end of everything
This could be the end of everything
So why don’t we go?

So why don’t we go
So why don’t we go?

Somewhere only we know?

Somewhere only we know?

Somewhere only we know?
               
                การที่บทเพลงนี้ให้ความรู้และฝึกทักษะการฟังโดยใช้เพลง Somewhere only we know by keane ซึ่งจากการฟังเพลงนี้ เพลงจากเจ้าของภาษา เราได้ฟังภาษาจริง ๆ ที่มีสำเนียงของการพูดที่ฟังได้จากและมีความไพเราะโดยจะมีการออกเสียงซึ่งดิฉันสามารถจับประเด็นความรู้ได้คือ เช่น ประโยคดังต่อไปนี้ Se tell me when you are gonna let me in ซึ่งคำว่า gonna นั้นเป็นการเชื่อมเสียงในบทเพลงที่ทำให้เกิดความไพเราะเพิ่มขึ้นจากเดิมโดยคำว่า gonna มาจากคำว่า go to แปลว่าไปซึ่งการใช้เสียงลักษณะนี้จะพบบ่อยในบทเพลงภาษาอังกฤษ
                อีกประเด็นสำคัญที่เราได้รับหลังจากการฝึกทักษะการฟังนั่นคือ การออกเสียง ED ซึ่งกฎของการออกเสียง ED มีดังนี้ กฎข้อที่  1  คือ ถ้ากริยาที่ลงท้ายด้วยเสียง D หรือ T เมื่อเติม ED จะออกเสียง อิดดึ หรือ เอ็ดดึ, ซึ่งเราจะต้องออกเสียง อิดดึ หรือ เอ็ดดึ ต่อไปจะกล่าวถึงกฎข้อที่ 2 ลงท้ายด้วยเสียง F,K,P,S,CH และ SH เมื่อ ED จะออกเสียง Tหรือ ถึ และกฎของสุดท้ายสำหรับการอกเสียง ED กฎข้อที่ 3 คือ คำกิรยาที่ลงท้ายด้วยเสียงอื่นยอกจากฏข้อที่ 1 และข้อ 2 เมื่อเติม Ed ให้ออกเสียง D หรือ เสียนง ดึ ซึ่งทั้งหมดนี้ข้อกฎของการออกเสียง ED
                จากบทเพลงนี้ เราสามารถฝึกออกเสียงได้จากประโยคต่อไปนี้ในบทเพลง ได้แก่ประโยคต่อไปนี้ I walked across an empty land ซึ่งประโยคนี้มีคำกริยาที่เติม ed คือ คำกริยาคำว่า walked เมื่อใช้กฎของการออกเสียงจะตอบกับกฎข้อที่ 2 ที่มีอยู่ว่า ถ้าคำกริยาลงท้ายด้วย F,K,P,S,CH และ SH เมื่อ ED จะออกเสียง T ซึ่งค่าว่า walked จึงออกเสียงได้ว่า อคคที ได้ตามหลักของการออกเสียงออกถูกต้อง
                ดังนั้นเมื่อ่ได้ฝึกทักษะต่าง  ๆ  จากเพลง Somewhere only we know เราคือสรุปประเด็นที่เราไดเรียนรู้จากเพลงนี้คือมีพังต่อไปนี้ ความหมายกับการแปลบทเพลง ความหมายของคำศัพท์ ความหมาย หลักการใช้ Grammar เรื่อง tense ซึ่งจะมี tense ดังนี้ present contionvous tense, pasy simple tense และอีก 2 ประเด็นทีได้รับความรู้จากการฝึกทักษะการฟังคือการเชื่อมเสียงในประโยคและการออกเสียง ED
                ต่อไปจะเป็นด้านความรู้ที่น่ามาเสริมสร้างให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีและการแปลอย่างถูกต้อง ซึ่งไวยากรณ์ (Grammar) ที่ควรมีความรู้ความเข้าใจอย่างถ่อยแท้และแท้จริงนั่นคือ kinds of clauses ชนิดของอนุประโยค ซึ่ง Subordinale Clause (อนุประโยค) แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ Noun clause หรือที่เรียกกันว่า (นามานุประโยค) Adjective clause (คุณานุประโยค) และ Asverb clause (วิเศษณานุประโยค) ซึ่งต่อไปนี้นั้นจะกล่าวเน้นไปยังส่วนเนื้อหาไวยากรณ์ของ noun clause เพื่อนความรู้มาเชื่อมโยงกับการแปลซึ่งNoun clause (นามานุประโยค) คือกลุ่มคำที่มีประธานและภาคแสดงหรือส่วนขยายซึ่งทำหน้าที่เหมือนกับคำนามตัวหนึ่งคือสามารถใช้เป็นประธาน ส่วนสมบูรณ์ กรรมของ กรรมตรง หรือกรรมของบุพบทก็ได้ ซึ่งสามารถอธิบายเกี่ยวกับเรื่อง noun clause ที่ทำหน้าที่เป็นประธาน ส่วนสมบูรณ์ กรรมตรง กรรมรอง กรรมของคำบุพบทได้ดังต่อไปนี้
                Noun clause ที่ทำหน้าที่เป็นส่วนประธาน (subject) สามารถยกตัวอย่างประโยคได้ 2 ประโยคดังนี้ Whoever ate the ice cream must buy us some more ใครก็ตามที่ทานไอศกรีมนั้นแปลความหมายได้ว่า อะไรก็ตามที่เธอพูดทำให้ผมประทับใจ Whatever she says…เป็น Noun clause (Subori dinate clause) ซึ่งทำหน้าที่เป็นประธานของประโยค ไม่สามารถวางอยู่ตามลำพังได้เพราะใจความที่มียังไม่สมบูรณ์เป็นเพียงอนุประโยคเท่านั้น makes เป็นกิริยาแท้ของประโยค me เป็นกรรม (object Cokmplemenl)-(co)
                Noun clause ที่ทำหน้าที่เป็นส่วนสมบูรณ์  (complement) สามารถยกตัวอย่างประโยคได้ 2 ประโยค ดังนี้ the problem is thet whoever ate the ice oream won’t confess ! สามารถแปลความหมายได้ดังนี้ ปัญหาก็คือว่าใครที่ตามที่ทานไอศกิรีมนั้น (เขา) จะไม่รับสาวภาพ that whoever ate the ice cream…เป็น noun clause  หรือ (อนุประโยคที่ทำหน้าที่เป็นเหมือนนามตัวหนึ่ง) ทำหน้าที่เป็นส่วนสมบูรณ์โดยตามหลัง Verb to be (is) ไม่สามารถที่จะวางอยู่ตามลำพังได้ เพราะใจความที่มีอยู่ยังไม่สมบูรณ์ และอีกประโยคนึงคือ Your acceplance of coming here is what we hope สามารถแปลได้ความว่า การที่คุณยอมรับว่าจะมาที่นี่เป็นสิ่งที่เราหวัง what we hope เป็น noun clause  หรือ subordinate clause ทำหน้าที่เป็นส่วนสมบูรณ์ของกริยา Verb to be (is) เช่นเดียวกัน
                noun clause  ที่ทำหน้าที่เป็นกรรมของ (indirect object) สามารถยกตัวอย่างได้ 2 ประโยค ดังนี้ Give whoever ate the ice cream some mors money สามารถแปลความหมายได้ดังนี้ จงให้เงินใครก็ตามที่ทานไฮศกรีมนั้นอีก Whoever ate the ice cream เป็น noun clause   ที่ทำหน้าที่เป็นกรรมรอง คือ บุคคล โดยมี some more money เป็นกรรมตรง (คือสิ่งของ) Tell whovever wonts to go with mo the truth ซึ่งสามารถแปลความหมายของประโยคได้ความว่า ความจริงใครก็ตามที่ต้องการไปกับฉัน whoever wants to go with me เป็น noun clause  ที่ทำหน้าที่เป็นกรรมรอง (คือบุคคล) โดนมี the truth เป็นกรรมตรงนั่นคือสิ่งของ
                noun clause  ที่ทำหน้าที่เป็นกรรม (Direcl object) สามารถยกตัวอย่างได้ 2 ประโยค ดังนี้ Don’t scold whoever ate the ice creem สามารถแปลความหมายได้ว่าอย่าค่าใครก็ตามที่ทานไอศกรีมนั้น whoever ate the ice cream เป็น noun clause   ที่ทำหน้าที่เป็นกรรมของกริยา scolde (ค่า) และอีกประโยคหนึ่งคือ She always follows whatever I advise สามารถแปลความหมายของประโยคได้ว่า เธอจะปฏิบัติตามทุกอย่าง(อะไรก็ตาม) ที่ฉันแนะนำ ซึ่ง Whatever I adviseเป็น noun clause   ที่ทำหน้าที่เป็นกรรมตรงของกริยา follows
noun clause  ที่ทำหน้าที่เป็นกรรมของบุพบท (\objective of the preposition) สามารถยกตัวอย่างได้ 2 ประโยคดังนี้ Who is the favorite filmstar at whoever ate the ice Cream? สามารถแปลประโยคได้ความหมายได้ว่า ใครคือดาราภาพยนตร์คนโปรของผู้ที่ทานไอศกรีมนั้น whovere ale the ice cream เป็น noun clause   ที่ทำหน้าที่เป็นกรรมของบุพบท of และอีกหนึ่งประโยคคือ the class laughed at what somsak was answering the teacher สามารถแปลความหมายได้ว่านักเรียนในห้องนั้นหัวเราะสิ่งที่สมศักดิ์ตอบครู what somsak was answering the teacher เป็น noun clause   ที่ทำหน้าที่เป็นกรรมของบุพบท at ซึ่งต่อไปนี้จะเป็นการสรุปคำเชื่อม noun clause  ได้ดังนี้  who , whoever, whom, whomever, whose, whosever, which, whichever, what , whatever, whether, when, where, why, if , how, and that
จากการอ่านเรื่อง noun clause ที่มีเนื้อหาเป็นภาษาไทยและมีประโยคเป็นภาษาอังกฤษนั้น ดิฉันสรุปหลักการใช้และประเด็นความรู้ได้ว่า noun clause  เป็นประโยครองที่ทำหน้าที่เป็นคำนามในประโยค noun clause ส่วนใหญ่จะมีคำเชื่อมขึ้นต้นด้วยคำว่า  who , whoever, whom, whomever, whose, whosever, which, whichever, what , whatever, whether, when, where, why, if , how, and that ซึ่ง noun clause สามารถทำหน้าที่เป็นประธาน ส่วนสมบูรณ์ กรรมตรง กรรมรอง และกรรมของคำบุพบท
เมื่อเราทราบเรื่อง noun clause แล้วอีกประเด็นความรู้ที่เราจำเป็นจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับ noun นั่นคือเรื่องของ noun phrase ก่อนอื่นก่อนที่เราจะมาทำความรู้จักเกี่ยวกับ noun phrase นั้น เราควรจะมาทำความรู้จักกับคำว่า phrase วลี คือกลุ่มคำที่ประกอบด้วยคำต่าง ๆ ที่นำมาเรียงกันอย่างมีความหมายและทำหน้าที่ใดหน้าที่หนึ่งในประโยค เช่น เป็นประธาน กริยากรรม ส่วนเสริม ส่วนกริยาวิเศษณ์ วลีไม่ได้ประกอบด้วยทั้งภาคประธานและภาคแสดง (นักภาษาศาสตร์บางคนเช่น Chomsky คือว่า ทำ ๆ เดียวก็เป็นวลี แต่ในสิ่งที่จะกล่าวต่อไปนี้จะเป็นการกล่าวถึง วลีคือกลุ่มคำทประกอบด้วยคำตั้งแต่ 2 คำขึ้นไปที่ทำหน้าที่ใดหน้าที่หนึ่งในประโยค
                ซึ่งวลีแบ่งออกเป็น 5 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้ นามวลี(noun phrase) จะมีคำนามเป็นหลัก เช่น women with long hairกริยาวลี (verb phrase) จะมีคำกริยาแท้เป็นหลักเช่น must have been thinking คุณศัพท์วลี (adjective phrase) จะมีคำคุณศัพท์เป็นหลัก เช่น very happy กริยาวิเศษณ์วลี  (adverb phrase) จะมีคำกริยาวิเศษณ์เป็นหลักเช่น very thoroughly (prepositional phrase) จะมีคำบุพบทเป็นหลัก เช่น in the warehouse
นามวดี (noun phrase) โครงสร้างของ noun phrase คำหลักใน noun phrase คือคำนามหรือคำสรรพนาม โดยอาจมีโครงสร้างดังประโยคต่อไปนี้ these houses จะเป็น noun phrase ซึ่งจะมีคำสำคัญนามและคำนาม these big houses จะเป็น noun phrase ที่คำนามและส่วนขยายหลังคำนาม ประโยคต่อไปนี้ big houses made of wood ซึ่งจะมีส่สวนขยายหน้าคำนาม คำนาม และส่วนขยายหลังคำนาม ประโยคต่อไปคือ some big houses made of wood จะมีคำกับนามส่วนขยายหน้าคำนาม คำนาม และส่วนขยายหลังคำนาม นี่คือส่วนประกอบของ noun phrase
หน้าที่ของ noun phrase นามวดีทำหน้าที่เช่นเดียวกับคำนามเช่นทำหน้าที่เป็นประธาน ยกตัวอย่างประโยคเช่น All the passengers were sefe 2.ทำหน้าที่เป็นกรรม ยกตัวอย่างประโยค We really really enjoyed the food at the that reataurant 3.ทำหน้าที่เป็นกรรมตรงและกรรมรอง เช่น The manager gave all of us a double raise 4.เป็นส่วนเสริมประธาน เช่น The clook was a Christmas present from the ABC company. 5. เป็นส่วนเสริมกรรม เช่น We considered Mr.Johnson the best employee 6.เป็นกรรมของบุพบทเช่น The box of chocolates Is intended for your chidren 7.เป็นส่วนขยายคำนามอื่น เช่น Tohn soffer from bach problems 8.เป็นกริยาวิเศษณ์ เช่น School starts next month
ต่อไปนี้จะเป็นการฝึกทักษะ การฟังโดยการฟังเพลงโดยเพลงที่ดิฉันเลือกฟังเพื่อฝึกทักษนั้นคือเพลง Bad day ของศิลปิน Danial ponter การเขียนภาษาโดยการเรียนอ่านผ่านเพลง ข้อดีของการเรียนภาษาทางเพลงนั้นค่อนข้างจะได้ผลในเรื่องของสำเนียง เพราะการร้องเพลงนั้นนักเรียนจะร้องเพลงเพื่อให้เกิดความไพเราะความค่อนคลาย ดังนั้น เมื่อเราฟังเพลงเราก็ควรได้ฝึกการเลียนแบบสำเนียงจากสำเนียงเจ้าของภาษาจริง ๆ ดังนั้นการฝึกทักษะต่าง ๆ โดยผ่านเพลงนั้น เราก็ได้ฟังเพลงและผ่อนคล้ายจากความเครียดจาการเรียนได้ดีวิธีหนึ่ง และพัฒนาทักษะการฟังของเราอีกด้วย
จากเพลง Bad doy ดิฉันชอบเพลงนี้ และท่อนที่ชอบมากที่สุดคือท่อนเพลงท่อนนี้มีอยู่ว่า Cause you had a bad day. You’re taking. One down. You sing a sad song just to turnit around. You say you don’t know you tell me don’t lie you work at a smile and you go for a ride you had a bad day The camera don’t lie. You’re coming back down and you redlly don’t mind you had a bad day you had a bad day
จากท่อนเพลงบ้างต้นที่ดินฉันชอบมากที่สุดนี้มีความหมายว่า เพราะคุณมีวันที่เลวร้าย คุณกำลังรับสิ่งที่ไม่ดี คุณร้องเพลงเศร้าเพียงเพื่อทำให้รู้สึกดีขึ้น คุณบอกว่าคุณไม่รู้ คุณบอกว่าคุณไม่ได้โกหกคุณทำเป็นยิ้มแล้วคุณก็ไปนั่งรถเล่น คุณมีวันที่เลวร้าย (คูณไม่มีความสุขหรอก) กล้องถ่ายรูปไม่โกหก (ผมเห็นความจริงนั้นได้) คุณกำลังรู้ตัวและคุณไม่สนใจ คุณมีวันที่เลวร้าย คุณมีวันที่เลวร้าย
สำหรับในความรู้ด้านของคำศัพท์นั้น ภาษาเพลงเป็นภาษากลอนหรือดูไม่คอยว่าคำเติม ๆคือคำอะไรโดยในการค้นหาความหมายของคำศัพท์ดิฉันได้หาความหมายของคำศัพท์ดังนี้ moment (n) ขณะนั้น, ช่วงเวลานั้น magic(n) ความเชื่อมั่น , ความเชื่อใจ , สติ fade(n) เลือนราง, กลายเป็น passion (n) กิเดส , ความรักความเสน่หา carry in’ = carruing (v) เป็นคำที่ปรากฏในเพลงในรูปแบบย่อ ดำเนินต่อไป, ทำต่อไป มีต่อไป pieces (n) ชิ้น cause = because (conj) เพราะ หรือเพราะว่า turn (v) หันกลับ, หมุนกลับ, เปลี่ยน system (n) ระบบ blimk(n) การกะพริบ, ไฟกะพริบเตือน
Some words and Expressions (คำศัพท์และสำนวน) ในส่วนนี้ เรื่องศัพท์หรือสำนวนต่างๆ ในบทเพลงนี้ ดังนั้นคงต่อไปนี้ เป็นคำหรือสำนวนที่ควรทราบในเพลง bad-day วันที่เลวร้าย ซึ่งต่อไปนี้จะเป็นยกตัวอย่างสำนวน you sing a sad song just it acound. ประโยคนี้มีความหมายว่า คุณร้องเพลงเศร้าเพียงทำให้คุณรู้สึกดีขึ้น ซึ่งสำนวนเต็ม ๆ นั่นคือ you sing a sad song to make thing better. Of You sinf a sad song to keep yoyrself happy. ทั้งสองประโยคนี้สามารถแปลความหมายได้ว่าคุณร้องเพลงเศร้าเพื่อทำให้สิ่งต่าง ๆ ดีขึ้น หรือคุณร้องเพลงเศร้าเพื่อทำให้คุณเองมีความสุข (สบายใจ)
Some words and Expressions (คำศัพท์และสำนวน) ต่อไปนี้ดีจะกล่าวถึงศัพท์แล้วสำนวนในบทเพลง Bad day มีสำนวนดังนี้ ประโยคนี้ And I don’t need no carryin’on แปลความหมายได้ว่า และผลดีไม่ต้องการสานต่อ มีสำนวนต่อไปนี้ที่มีความหมายใกล้เคียงคือ I don’t need to tolerats further. I don’t need to bear this burden further. I don’t need to reperat my trouble ซึ่ง 3 ประโยคนี้สามารถแปลความหมายได้ดังนี้ ผมไม่ต้องการทนอีกต่อไปหรือ ผมไม่ต้องการแบคภาระนี้อีกต่อไป หรือผมไม่ต้องการทำให้ปัญหาเกิดขึ้นซ้ำแล้วซ้ำเล่า The  camera don’t lie กล้องไม่เคนโกหก ซ่งสำนวนที่มีความหมายใกล้เคียงกันคือ Pictures tell the truth I can see the truth ทั้ง 2 ประโยคนี้ สามารถแปลความหมายได้ดังนี้ รูปถ่ายบอกความจริง หรือผมสามารถเห็นความจริงนั้น
Some words and expressions (คำศัพท์และสำนวน) ต่อไปนี้ก็จะกล่าวถึงศัพท์และสำนวนในบทเพลง Bad day มีสำนวนดังนี้ You stand in the tine just to hit a new low. มีความหมายว่า คุณยืนเป้าแถวเพียงเพื่อทำสิ่งไม่ดีอีก และมีอีก 2 สำนวนที่มีความหมายใกล้เคียงคือ You wait around just to fail again You wait around just to have another bad experience ซึ่ง 2 ประโยคนี้มีความหมายว่า คุณรอคอยความล้มเหลวอีกครึ่งหรือคุณรอคอยประสบการณ์แย่ ๆ อย่างหนึ่ง
ต่อไปนี้จะเป็นการกล่าวถึงความรู้เกี่ยวกับไวยากรณ์ (Grammar) ซึ่งประโยคต่อไปนี้จะเป็นหลักการใช้ไวยากรณ์ที่เกี่ยวกับ Tense ซึ่งประโยคต่อไปนี้มีดังนี้ Where is the moment we needed the most มีความหมายว่า ช่วงเวลาที่เอาต้องการมากที่สุดอยู่ที่ไหน ซึ่งประโยคนี้จะใช้ Tense คือ present simple-past simple และประโยคต่อไป คือ You’re faking a smile with the coffee to go มีความหมายว่าคุณยิ้มกลบเกลี้ยนเมื่อตอนที่คุณซื้อกาแฟไปทาน ประโยคนี้ใช้ tense คือ present continovs ประโยคต่อไปคือ Cause you had a bad day มีความหมายว่า เพราะคุณมีวันที่เลวร้าย ใช้ tense past simple ส่วน you’re seen what you like ใช้ present perfecl และประโยค sometimes the system goes or the blink ใช้ present simple tense.



1 ความคิดเห็น: